• หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับสมาคม
  • หลักสูตร
  • ทรัพยากรการแปล
  • รางวัลสุรินทราชา
  • ติดต่อเรา
  • เข้าสู่ระบบ
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับสมาคม
  • หลักสูตร
  • ทรัพยากรการแปล
  • รางวัลสุรินทราชา
  • ติดต่อเรา
  • เข้าสู่ระบบ

เกี่ยวกับ “มาตรฐานอาชีพนักแปล”

เมื่อพ.ศ. 2557 สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (TPQI) เริ่มจัดทำมาตรฐานอาชีพนักแปลพร้อมกับอีก 5 อาชีพ จาก 6 อาชีพในสาขาวิชาชีพธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์คือ นักเขียน นักวาดภาพประกอบ นักออกแบบกราฟิก นักพิสูจน์อักษร และ บรรณาธิการ ทั้งนี้ โดยความร่วมมือระหว่างสมาคมนักแปลและล่ามแห่งประเทศไทย (TIAT) สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย (PUBAT) และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (TPQI) การจัดทำมาตรฐานอาชีพนักแปลเสร็จสิ้นเมื่อพ.ศ. 2559 สมรรถนะบุคคลอาชีพนักแปล มาตรฐานอาชีพนักแปลจัดทำตามกรอบของมาตรฐานสากล ISO/IEC 17024 และกรอบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ ซึ่งแบ่งระดับคุณวุฒิวิชาชีพออกเป็น 7 ระดับ คือ ระดับ 1 ผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ทักษะเบื้องต้น ระดับ 2 ผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ทักษะอาชีพระดับกึ่งฝีมือ ระดับ 3 ผู้ปฏิบัติงานเฉพาะทาง ระดับ 4 ผู้เชี่ยวชาญในอาชีพระดับต้น, ผู้บริหารระดับต้น ระดับ 5 ผู้เชี่ยวชาญในอาชีพ, ผู้บริหารระดับกลาง ระดับ 6 ผู้เชี่ยวชาญในอาชีพ, ผู้บริหารระดับสูง […]
  • Posted by Patima Rachatawarn
  • On June 9, 2017
  • 0 Comments
  • 1 likes
  • Read More
Archives
  • November 2020
  • February 2020
  • January 2020
  • October 2019
  • September 2019
  • June 2019
  • March 2019
  • February 2019
  • January 2019
  • December 2018
  • November 2018
  • October 2018
  • May 2018
  • March 2018
  • February 2018
  • June 2017
  • December 2016
Categories
  • ข่าวสารจากสมาคม (13)
  • ข่าวสารวงการแปลและล่าม (1)
  • จดหมายข่าว (1)
  • ทรัพยากรการแปลและการล่าม (16)
  • รามเกียรติ์ (2)
Scroll
สมาคมนักแปลและล่ามแห่งประเทศไทยไม่ให้การรับรองหรืออนุญาตให้บุคคลหรือหน่วยงานใดใช้เครื่องหมายสมาคมเพื่อการประชาสัมพันธ์หรือเพื่อประโยชน์ทางการค้า ไม่ว่าในกรณีใดๆ การกระทำดังกล่าว เป็นการกระทำโดยไม่ได้รับอนุญาต และไม่มีผลรับรองหรือแสดงความเกี่ยวข้องใดๆ ทั้งสิ้น